สนาม: Yuetang News Net
บทนำ:2 อนุมัติให้ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นผู้ลงนามในร่างความตกลงความร่วมมือดังกล่าว และ 3มอบหมายให้ กต จัดทำหนังสือมอบอำนาจเต็มให้แก่ผู้ลงนามในข้อ 2...
สนาม: ทอม
บทนำ:ทั้งนี้ศาสตราจารย์ ดรเผดิมศักดิ์ ได้กล่าวให้ข้อมูลเสริมว่า การรื้อถอนสิ่งติดตั้งที่ใช้ในกิจการปิโตรเลียมในทะเลเป็นความท้าทายใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้นกับประเทศไทย ทั้งในประเด็นสัมปทานการรื้อถอน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นก่อนและหลังทำการรื้อถอนเนื่องจากที่ผ่านมาพบว่า สิ่งติดตั้งที่ใช้ในกิจการปิโตรเลียมในทะเล มีส่วนอย่างมากที่ทำให้เกิดปัญหาขยะทะเล ทำลายสัตว์ทะเลหายาก และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศแนวปะการัง นำมาสู่การขับเคลื่อนในทางนโยบาย ทั้งนี้ในอ่าวไทยมีแท่นติดตั้งของผู้ประกอบการด้านปิโตรเลียม รวมมีทั้งหมด 452 แท่น แบ่งเป็น แท่นผลิต 406 แท่น แท่นที่พักอาศัย 11 แท่น และแท่นอื่นๆ เช่น แท่นเผาก๊าซ แท่นกำจัดปรอท แท่นอุปกรณ์เพิ่มความดัน 18 แท่น เรือผลิต และแท่นผลิตชั่วคราว 17 แท่น สำหรับการรื้อถอนเป็นความรับผิดชอบของผู้รับสัมปทาน ตาม พรบปิโตรเลียม 2514 และการรับมอบ ผู้รับสัมปทานต้องมอบให้รัฐบาลไทยโดยไม่คิดมูลค่า ตามกฎกระทรวง กำหนดแบบสัมปทานปิโตรเลียม พศ2555 และ การรื้อถอนแท่นที่ไม่ได้ใช้ ซึ่งโดยเงื่อนไขคือสิ่งติดตั้งที่ไม่ได้ใช้งานเกิน 1 ปี ปริมาณสำรองปิโตรเลียมน้อยกว่าร้อยละ 40 หรือ หมดอายุสัมปทาน ซึ่งเป็นไปตามกฏกระทรวง
ลิงค์ที่เป็นมิตรเวลาปัจจุบัน:2021-04-14